วันอังคารที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2554

รายงานผลการเลือกตั้ง

รายงานผลการเลือกตั้ง 3 กค 2554
-พรรคการเมืองแต่ละพรรคได้สส.แบบแบ่งเขตเลือกตั้งกี่คน แบบบัญชีรายชื่อแบบบัญชีรายชื่อกี่คน รวมได้สส.กี่คน

ชื่อพรรค ส.ส.บัญชีรายชื่อ ส.ส.แบ่งเขต รวม
1.เพื่อไทย 61 204 265
2.ประชาธิปัตย์ 44 115 159
3.ภูมิใจไทย 5 29 34
4.ชาติไทยพัฒนา 4 15 19
5.ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน 2 5 7
6.พลังชล 1 6 7
7.รักประเทศไทย 4 - 4
8.มาตุภูมิ 1 1 2
9.รักษ์สันติ 1 - 1
10,มหาชน 1 - 1
11.ประชาธิปไตยใหม่ 1 - 1
รวม 125 375 500
-พรรคร่วมรัฐบาลประกอบด้วยกี่พรรค แต่ละพรรคมีสส.กี่คน รวมทั้งสิ้นพรรคร่วมรัฐบาลมีสส.กี่คน
พรรคร่วมรัฐบาลมี 6 พรรค
เพื่อไทยได้ 262 คน
ชาติไทยพัฒนาได้ 19 คน
ชาติพัฒนาแผ่นดินได้ 9 คน
พลังชลได้ 7 คน
มหาชนได้ 1 คน
ประชาธิปไตยใหม่ได้ 1 คน
รวมทั้งสิ้นพรรคร่วมรัฐบาลมีสส. 300 คน
-พรรคการเมืองฝ่ายค้านประกอบด้วยกี่พรรค แต่ละพรรคมีสส.กี่คน รวมฝ่ายค้านทั้งสิ้นกี่คน
พรรคฝ่ายค้านมี 5 พรรค
ประชาธิปปัตย์ได้ 160 คน
ภูมิใจไทยได้ 34 คน
รักประเทศไทยได้ 4 คน
มาตุภูมิได้ 2 คน
รักสันติได้ 1 คน
รวมฝ่ายค้านทั้งหมด 200 คน


วันศุกร์ที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2554

มรดกโลก


มรดกโลก

มรดกโลก มรดกอันทรงคุณค่าที่มนุษย์ได้รับจากอดีต ได้ใช้ และภาคภูมิใจในปัจจุบัน และถือเป็นพันธกรณีในการทนุบำรุงดูแลรักษา เพื่อมอบให้เป็นมรดกอันล้ำค่าแด่มวลมนุษย์ในอนาคต





ตามอนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองมรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติของโลก (The World Heritage Convention) ได้แบ่งพื้นที่มรดกโลกออกเป็น มรดกโลกทางวัฒนธรรม (cultural heritage) มรดกโลกทางธรรมชาติ (natural heritage) และมรดกโลกแบบผสมผสาน (mixed heritage) ปัจจุบันมีแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติในประเทศต่างๆทั่วโลก 134 ประเทศ จำนวน 788 แหล่ง แบ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรม 611 แหล่ง มรดกทางธรรมชาติ 154 แหล่ง และเป็นแบบผสมผสาน 23 แหล่ง ซึ่งนำไปสู่ความร่วมมือระดับนานาชาติในการส่งเสริมและสนับสนุนให้แหล่งมรดกโลกได้รับการคุ้มครองและสงวนรักษาอย่างจริงจัง





คณะรัฐมนตรีได้มีมติให้ประเทศไทยเข้าร่วมเป็นภาคีในอนุสัญญาคุ้มครองมรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติของโลก เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ.2530 และเห็นชอบให้นำเสนอแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติของไทยรวม 6 แหล่ง เพื่อบรรจุไว้ในบัญชีรายชื่อแหล่งมรดกโลก ได้แก่ แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย-ศรีสัชนาลัย-กำแพงเพชร อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ อุทยานแห่งชาติทางทะเลหมู่เกาะตะรุเตา และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง




ในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลก ครั้งที่ 15 ปีพ.ศ. 2534 ที่ประเทศสาธารณรัฐตูนิเซีย แหล่งมรดกทางวัฒนธรรมจำนวน 2 แหล่ง คืออุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย-ศรีสัชนาลัย-กำแพงเพชร และอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยากับแหล่งมรดกทางธรรมชาติ 1 แหล่งคือเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง ได้รับการประกาศให้บรรจุไว้ในบัญชีรายชื่อแหล่งมรดกโลก และในปีถัดมาคือพ.ศ. 2535 ในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกครั้งที่ 16 ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ประกาศให้เป็นแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม ได้แก่ แหล่งโบราณคดีบ้านเชียงเป็นแหล่งมรดกโลกอีกแห่งหนึ่ง


"กลุ่มป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่" ของไทยได้รับการประกาศให้เป็นแหล่งมรดกโลกเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2548

วันอาทิตย์ที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2554

พรรคการเมืองที่ลงสมัครเลือกตั้ง


หมายเลข
ชื่อพรรค
หัวหน้าพรรค
สัญลักษณ์พรรค
1
พรรคเพื่อไทย

นาย ยงยุทธ วิชัยดิษฐ์



2
พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน

พล.อ.เชษฐา ฐานะจาโร


        
3
พรรคประชาธิปไตยใหม่ 

นายสุรทิน พิจารณ์



        
          
4
พรรคประชากรไทย

นายสุมิตร สุนทรเวช



  
  
5
พรรครักประเทศไทย

นายชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์

    
6
พรรคพลังชล

รองศาสตราจารย์เชาว์ มณีวงษ์
7
พรรคประชาธรรม

นายมุคตาร์ กีละ
8
พรรคดำรงไทย
นายโชติพัฒน์ สกุลดีเชิดชู
   
9
พรรคพลังมวลชน
นายไกรภพ ครองจักรภพ
         
10
พรรคประชาธิปัตย์
นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

  
11
พรรคไทยพอเพียง
นายจำรัส อินทุมาร
12
พรรครักษ์สันติ
พลตำรวจโทถวิล สุรเชษฐพงษ์
13
พรรคไทยเป็นสุข
นายประดิษฐ์ ศรีประชา


         
14
พรรคกิจสังคม
นายทองพูล   ดีไพร
   
15
พรรคไทยเป็นไทย
นายตรีสัลล์ จันทน์เทียนเดชา
16
พรรคภูมิใจไทย
นายชวรัตน์ ชาญวีรกูล

17
พรรคแทนคุณแผ่นดิน
นายวิชัย ศิรินคร


18
พรรคเพื่อฟ้าดิน
นางสาวขวัญดิน สิงห์คำ
19
พรรคเครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย
นายโชติ บุญจริง

   
20
พรรคการเมืองใหม่
นายสมศักดิ์  โกศัยสุข
21
พรรคชาติไทยพัฒนา
นายชุมพล ศิลปอาชา


22
พรรคเสรีนิยม
นายพุทธชาติ ช่วยราม

23
พรรคชาติสามัคคี
นายนพดล ไชยฤทธิเดช

24
พรรคบำรุงเมือง
นายสุวรรณ ประมูลชัย



          
25
พรรคกสิกรไทย
 นายจำลอง  ดำสิม

26
พรรคมาตุภูมิ
พลเอกสนธิ บุญยรัตกลิน

27
พรรคชีวิตที่ดีกว่า
นางพูลถวิล ปานประเสริฐ


28
พรรคพลังสังคมไทย
นายวิวัฒน์ เลอยุกต์
29
พรรคเพื่อประชาชนไทย
นายดิเรก กลิ่นจันทร์
     
         
30
พรรคมหาชน
นายอภิรัต ศิรินาวิน
31
พรรคประชาชนชาวไทย
นายสุนทร ศรีบุญนาค
     
     
32
พรรครักแผ่นดิน
นายประทีป ประภัสสร
33
พรรคประชาสันติ
นายดลสวัสด์ ชาติเมธี
34
พรรคความหวังใหม่
นายชิงชัย   มงคลธรรม
35
พรรคอาสามาตุภูมิ
นายมนตรี เศรษฐบุตร
36
พรรคพลังคนกีฬา
นายวนัสธนา สัจจกุล 
37
พรรคพลังชาวนาไทย
นายสวัสดิ์ พบวันดี
38
พรรคไทยสร้างสรรค์
นายวิษณุภตฆ์ พีรเจริญวงส์
39

พรรคเพื่อนเกษตรไทย
นายทรงเดช สุขขำ   
   

40
พรรคมหารัฐพัฒนา
นางสาวนวลนิจ หงษ์วิวัฒน์